เนื้อหา บทที่ 15
การเขียนร้อยกรอง
ร้อยกรอง คือ คาประพันธ์ที่แต่งขึ้นอย่างสละสลวย มีความไพเราะและมีข้อบังคับในการแต่งเรียกว่า “ฉันทลักษณ์”
คาประพันธ์หรือร้อยกรองมีหลายประเภท เช่น โคลง กลอน กาพย์ ฉันท์ และร่าย
กวีนิพนธ์หรือร้อยกรอง(Poetry) คือรูปแบบทางศิลปะที่มนุษย์ใช้ภาษาเพื่อคุณประโยชน์ด้านสุนทรียะซึ่งเพิ่มเติมจากเนื้อหาทางความหมายงานด้านกวีนิพนธ์นั้นหลักๆประกอบด้วยงานวรรณกรรมที่มีการใช้ภาษาในวิธีที่ทั้งผู้ใช้และผู้รับฟังรู้สึกแตกต่างจากการเขียนแบบร้อยแก้ว
ผลงานที่จัดเป็นกวีนิพนธ์เรียกว่าบทกวีส่วนผู้ที่สร้างสรรค์ผลงานดังกล่าวเรียกว่ากวี
ฉันทลักษณ์คือรูปแบบการบังคับในการแต่งบทร้อยกรองซึ่งมีการคิดขึ้นมากมายโดยอาศัยโครงสร้างของคาและจังหวะในการออกเสียงให้เป็นกลุ่มของคาในรูปแบบที่ต่างกันทาให้เกิดเป็นฉันทลักษณ์ที่แตกต่างกัน
ประเภทร้อยกรอง
ร้อยกรองมี๕ประเภทใหญ่ๆคือ
๑ โคลงได้แก่โคลงสี่สุภาพโคลงดั้น
๒ ฉันท์ได้แก่วสันตดิลกฉันท์อินทรวิเชียรฉันท์
๓ กาพย์ได้แก่กาพย์ยานี๑๑กาพย์ฉบัง
๔ กลอนได้แก่กลอนสุภาพกลอนสักวา
๕ ร่ายได้แก่ร่ายยาวร่ายโบราณ
นอกจากนี้ยังมีการนาคาร้อยกรองบางประเภทมาแต่งรวมกันเช่น
ร่าย+ โคลงเรียกว่าลิลิต
โคลง+ กาพย์เรียกว่ากาพย์ห่อโคลง
กาพย์+ ฉันท์เรียกว่าคาฉันท์
แนวการเขียนบทร้อยกรอง
1. ศึกษาฉันทลักษณ์ของคาประพันธ์นั้นๆให้เข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง
2. คิดหรือจินตนาการว่าจะเขียนเรื่องอะไรสร้างภาพให้เกิดขึ้นในห้วงความคิด
3. ลาดับภาพหรือลาดับข้อความให้เป็นไปอย่างสมเหตุสมผล
4. ถ่ายทอดความรู้สึกหรือจินตนาการนั้นเป็นบทร้อยกรอง
5. เลือกใช้คาที่สื่อความหมายได้ชัดเจนทาให้ผู้อ่านเกิดภาพพจน์และจินตนาการร่วมกับผู้ประพันธ์
6. พยายามเลือกใช้คาที่ไพเราะเช่นคิดใช้ว่าถวิล
7. แต่งให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของคาประพันธ์
ลักษณะบังคับในการแต่งบทร้อยกรอง
๑ คณะเป็นข้อกาหนดเรื่องจานวนคาวรรคบาทบทรวมถึงการกาหนดคาเอกคาโทคาครุคาลหุที่บังคับตามฉันทลักษณ์สาหรับบทร้อยกรองทุกประเภทเช่น
กาพย์ยานี๑๑กาหนดไว้ว่า๑บาทมี๑๑คา
กลอนสุภาพกาหนดไว้ว่า๑บาทมี๗-๙คา
๒ คาสัมผัสคือการเขียนคาให้คล้องจองเมื่ออ่านแล้วทาให้เกิดความไพเราะซึ่งเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการเขียนร้อยกรองคาสัมผัสมี๒ชนิด
ก สัมผัสนอกหรือสัมผัสบังคับคือการสัมผัสเสียงสระระหว่างวรรคซึ่งจะกาหนดไว้ตายตัวสาหรับร้อยกรองแต่ละชนิดจะขาดไม่ได้ถือว่าผิดฉันทลักษณ์นอกจากนี้ยังมีสัมผัสระหว่างบทเมื่อเขียนบทร้อยกรองมากกว่า๑บทจะต้องมีคาส่งสัมผัสในบทต่อไป
จงรักนวลสงวนงามห้ามใจไว้อย่าหลงใหลจ่าค่าที่พร่่าสอน
คิดถึงหน้าบิดาแลมารดรอย่ารีบร้อนเร็วนักมักไม่ดี
เมื่อสุกงอมหอมหวนจึงควรหล่นอยู่กับต้นอย่าให้พรากไปจากที่
อย่าชิงสุกก่อนห่ามไม่งามดีเมื่อบุญมีคงจะมาอย่าปรารมภ์
ข สัมผัสในคือการสัมผัสระหว่างคาในแต่ละวรรคจะมีหรือไม่มีก็ได้ถ้ามีก็จะทาให้ร้อยกรองมีความไพเราะยิ่งขึ้นสัมผัสในมี๒ชนิดคือ
สัมผัสสระคือคาที่มีเสียงสระเดียวกันและมีตัวสะกดอยู่มาตราเดียวกันเช่น
เป็นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปากจะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา
สัมผัสอักษรคือคาที่มีเสียงพยัญชนะต้นเหมือนหรือคล้ายกันเช่น
พระโหยหวนครวญเพลงวังเวงจิตให้ชวนคิดถึงถิ่นถวิลหวัง
๓ คาเอกโทเป็นลักษณะบังคับในการแต่งโคลง
คาเอกคือคาที่มีรูปวรรณยุกต์เอกกากับเช่นนี่พี่
คาโทคือคาที่มีรูปวรรณยุกต์โทกากับเช่นห้าน้า
๔ คาครุคาลหุเป็นลักษณะบังคับในการแต่งฉันท์
— คาครุ(ใช้สัญลักษณ์ั) คือคาที่ประสมเสียงสระยาวในแม่กกาและคาที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นและเสียงยาวที่มีตัวสะกดรวมทั้งอาไอใอเอา
— คาลหุ(ใช้สัญลักษณ์ุ) คือคาที่ประสมสระเสียงสั้นในแม่กกาซึ่งไม่มีตัวสะกดและคาที่ใช้พยัญชนะเดียวเช่นบ่ก็ณธ
๕คาเป็นคาตาย
— คาเป็นหมายถึงคาที่ประสมด้วยสระเสียงยาวในแม่กการวมทั้งอาไอใอเอาและคาที่มีตัวสะกดในแม่กงกนกมเกยเกอว
— คาตายหมายถึงคาที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นในแม่กการวมทั้งคาที่มีตัวสะกดในแม่กกกดกบ
๖เสียงวรรณยุกต์เป็นลักษณะบังคับในการแต่งกลอนและกาพย์บางชนิดได้แก่เสียงสามัญเอกโทตรีจัตวา
๗พยางค์หมายถึงเสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆใช้ในการแต่งร้อยกรองประเภทฉันท์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น